Font offentlig
[search 0]
Flere
Download appen!
show episodes
 
Artwork

1
2 จิตตวิเวก

ปัญญา ภาวนา ฟังธรรมะ ปัญญาภาวนา Panya Bhavana

Unsubscribe
Unsubscribe
Ugentligt
 
รูปแบบการปฏิบัติธรรมทางวิทยุ (Guided Meditation) ฟังไปด้วย, นั่งสมาธิไปด้วย เพื่อทำจิตที่ประภัสสรให้ผ่องใส ด้วยการเจริญสมถวิปัสสนา นำธรรมะเข้าสู่จิตใจให้ชุ่มเย็นอ่อนเหมาะควรแก่การงาน. New Episode ทุกวันอังคาร เวลา 05:00, Podcast นี้เป็นส่วนหนึ่งของรายการธรรมะรับอรุณ ออกอากาศทุกวันทางสถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย (สวท.) มีคำถาม/ข้อเสนอแนะ หรือสมัครติดตามฟังทั้ง 7 รายการ ที่ panya.org Hosted on Acast. See acast.com/privacy for more information.
  continue reading
 
Artwork

1
3 ใต้ร่มโพธิบท

ปัญญา ภาวนา ฟังธรรมะ ปัญญาภาวนา Panya Bhavana

Unsubscribe
Unsubscribe
Ugentligt
 
เรียนรู้หัวข้อธรรมะ ที่เป็นแผนที่แม่บท เพื่อให้เกิดความเข้าใจที่ถูกต้อง ด้วยสูตร 15+45 คือนั่งสมาธิ 15 นาที แล้วตามด้วยการอธิบายหัวข้อธรรมะ 45 นาที เพื่อให้ตกผลึกความคิดเป็นสัมมาทิฏฐิ มีปัญญาเดินทางแผนที่คำสอนได้. New Episode ทุกวันพุธ เวลา 05:00, Podcast นี้เป็นส่วนหนึ่งของรายการธรรมะรับอรุณ ออกอากาศทุกวันทางสถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย (สวท.) มีคำถาม/ข้อเสนอแนะ หรือสมัครติดตามฟังทั้ง 7 รายการ ที่ panya.org Hosted on Acast. See acast.com/privacy for more information.
  continue reading
 
วันพีซ เรด 2022 [พากย์ไทย] ดูหนังออนไลน์ฟรี | one piece film red เข้า ไทย วัน ไหน ดูหนัง ONE PIECE FILM: RED [วันพีซ ฟิล์ม เรด - 2022] ออนไลน์ฟรี ฟรี เต็มเรื่อง พากย์ไทย THAI DUB,ดูหนัง ONE PIECE FILM: RED (ววัวันพีซ ฟิล์ม เรด) 2022 HD พากย์ไทย ซับไทย ดูฟรี ,ผมแดงผู้นำมาซึ่งบทสรุป (2022) เต็ม เรื่อง พากย์ ไทย ,ONE PIECE FILM RED | วันพีซ ฟิล์ม เรด uta คือ เรื่องเต็ม พาก,ดู วัน พีช ฟิล์ม red ซูม หนังออนไลน์,[ดูหนัง-HD!] ...
  continue reading
 
Loading …
show series
 
การที่เราจะรู้จักใครสักคนอย่างดีพอนั้น… ไม่ใช่จากคำบอกเล่าของบุคคลอื่น หรือ จากสิ่งที่เราได้ยินได้เห็นเพียงแค่ในช่วงเวลาสั้นๆ นั้น แต่ต้องอาศัยเวลาในการอยู่ร่วมกันนานพอสมควร รวมถึงการทำไว้ในใจโดยแยบคาย และปัญญา ฐานสูตร ว่าด้วยฐานะที่พึงรู้ด้วยฐานะ เราจะรู้ได้ว่าบุคคลนั้น มีศีล สมาธิ และปัญญาจะพิจารณาได้จาก “ศีล” คือความปกติ พึงรู้ได้ด้วยการอยู่ร่วม…
  continue reading
 
เราจะศรัทธา ปฏิบัติตามสิ่งใด สิ่งนั้นต้องตรวจสอบได้ ต้องพ้นทุกข์ได้จริง โดยต้องประกอบด้วยมรรคมีองค์แปด ตลอดทางที่ดำเนินไป คือ มีศีล สมาธิ ปัญญา เริ่มจาก มีศรัทธา พร้อมปัญญา ว่าสิ่งนั้นตรวจสอบได้ด้วยตนเอง เมื่อมั่นใจแล้ว ตั้งใจลงมือทำ ด้วยความเพียร มีสติ สมาธิ ปัญญา เกิดขึ้น จะเห็นว่า ทุกๆสิ่ง ไม่เที่ยง มีเงื่อนไข ปัจจัยเกิดขึ้น มีทุกข์ ไม่ควรยึดถือ…
  continue reading
 
เหตุให้อายุยืน ได้แก่ 1. รู้จักทำความสบายแก่ตนเอง คือรู้จักสิ่งที่เป็นสัปปายะ รู้จักสิ่งที่เหมาะสมกับสภาพร่างกายของตน 2. รู้จักประมาณในสิ่งที่สบาย 3. บริโภคอาหารที่ย่อยง่าย รวมถึงการเคี้ยวอาหารให้ละเอียดด้วย 4. ประพฤติเหมาะสมในเรื่องเวลา คือ ทำกิจกรรมที่เหมาะสมกับเวลาอย่างสม่ำเสมอ เช่น นอนให้เป็นเวลา ตื่นเป็นเวลา ออกกำลังให้สม่ำเสมอเป็นเวลา 5. ประพ…
  continue reading
 
จิตที่ไหลไปตามกระแส สุขๆ ทุกข์ๆ ไม่มีที่พึ่ง ไม่มีที่เกาะ ตามหาที่พึ่งไปเรื่อยๆ ขาดที่พึ่งที่แท้จริง หากแต่ เมื่อเรามี สติเป็นที่พึ่ง มีธรรมเป็นที่พึ่ง จะไม่ยึดในเวทนาทั้งสุขและทุกข์, ระลึก รู้ตัว ในสิ่งต่างๆคือ มีสติปัฏฐานสี่เป็นที่พึ่งตลอด, อกุศลธรรมดับ กุศลธรรมเกิด ข้ามกระแสน้ำเชี่ยว ด้วยสติสัมปชัญญะ Hosted on Acast. See acast.com/privacy for mo…
  continue reading
 
“นิวรณ์ 5” กิเลสที่กั้นจิตไม่ให้ก้าวหน้าในคุณธรรม เกิดขึ้นในช่องทางใจระหว่างการปฏิบัติสมาธิภาวนา เป็นเครื่องขวางกั้น ทำให้จิตขุ่นมัว ไม่เป็นสมาธิประกอบด้วย 5 อย่างดังนี้ 1. กามฉันทะ คือ ความพอใจในกาม, ความต้องการกามคุณ 2. พยาบาท คือ ความคิดร้าย, ความขัดเคืองแค้นใจ 3. ถีนมิทธะ คือ ความง่วงเหงาความซบเซาเซื่องซึม, ความหดหู่ 4. อุทธัจจกุกกุจจะ คือความฟ…
  continue reading
 
“บางคนนั่งเฉย ๆ ไม่ได้ไปหาใครพูดกับใคร แต่เบียดเบียนคนอื่นได้ เบียดเบียนตัวเองได้ ตรงความคิดไง ตัวไม่ขยับแต่จิตมันขยับ” หยุดจิตให้ได้ อย่าให้จิตไหลไปตามผัสสะ ควบคุมจิตไม่ให้คิดเรื่องต่างๆ ด้วยสติ ด้วยลมหายใจ จิตสงบ ระงับ เกิดสัมมาสมาธิ, แล้วใช้ปัญญาพิจารณา จิต เดี๋ยวผ่องใส เดี๋ยวขุ่นมัว เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ตามเหตุการปรุงแต่ง จะเห็น จิตก็ไม่เที่ยง เ…
  continue reading
 
ที่พระพุทธเจ้าได้ทรงตรัสไว้ว่าให้พึ่งตน พึ่งธรรมนั้น หมายถึง พึ่งธรรมของพระองค์ ในตอนนี้จึงจะยกธรรมเป็นที่พึ่ง หรือคุณธรรมที่ทำให้ตนเป็นที่พึ่งของตนได้ คือนาถกรณธรรม 10 ประการ มากล่าว ดังนี้ ศีล คือ ความประพฤติดีงามสุจริต รักษาระเบียบวินัย ผู้มีศีลถือว่าเป็นผู้มีที่พึ่งแล้ว พาหุสัจจะ คือ ความเป็นผู้ได้ศึกษาเล่าเรียนมาก มีความรู้ความเข้าใจลึกซึ้งในธ…
  continue reading
 
เจริญสติโดยการพิจารณากาย ใช้กายเพื่อชำระจิต ให้เห็นกาย ตามความเป็นจริง ให้เห็นกายนี้ว่า เป็นทั้งสิ่งปฏิกูล และเป็นสิ่งไม่ปฏิกูล และให้อยู่อุเบกขาในสิ่งนั้น ทำอย่างต่อเนื่อง, จิตจะแยกออกจากกาย จิตไม่ไปยึดถือ ยึดมั่นในกายว่าเป็นตัวตนของเรา, กิเลสในจิต จะค่อยๆ หลุดออกไปๆ ด้วยความเพียร ในการพิจารณากายซ้ำๆ ปัญญาจะเกิดขึ้น Hosted on Acast. See acast.com/…
  continue reading
 
ธรรมเครื่องอยู่อย่างผาสุกในที่นี้จะกล่าวไว้ 2 กรณีคือ กรณีที่ 1 คือผู้ที่อยู่คนเดียวจะอยู่อย่างไรให้ผาสุกอยู่ได้ พระพุทธเจ้าได้ตรัสไว้เป็น 2 นัยยะ ได้แก่นัยยะที่ตรัสไว้กับภิกษุทั้งหลายว่า ธรรมเครื่องอยู่อย่างผาสุกคือ ฌาน 1/ ฌาน 2/ ฌาน3/ ฌาน4 / การทำให้แจ้งซึ่งเจโตวิมุติปัญญาวิมุติ ส่วนนัยยะที่ 2 ได้ปรารภในคหบดีเจาะจงสำหรับผู้ครองเรือนไว้ คือโสตาปัต…
  continue reading
 
ระงับความคิด ด้วยการตั้งสติ ด้วยการระลึกสังเกตอยู่กับลมหายใจ สังเกตดูเฉยๆ ฝึกบ่อยๆจนเกิด สัมมาสติ จิตตั้งมั่นได้ ไม่ตามไปกับสิ่งต่างๆที่ผ่านเข้ามา ไม่ตามความคิด อารมณ์ ความรู้สึกต่างๆ, จิตแยกออกจากความคิด ความรู้สึกได้มากขึ้น มากขึ้น, เกิดความสงบ ระงับ, จิตเริ่มเป็นสมาธิ เรียกว่าสัมมาสมาธิ, ใช้สัมมาสมาธิเป็นเครื่องมือ เพื่อให้เชี่ยวชาญในความคิด แก้…
  continue reading
 
พระพุทธเจ้าได้ทรงแสดงธรรมะไว้อย่างดีและรัดกุมรอบคอบไม่ละหลวม ในที่นี้จะนำธรรมมะที่กล่าวถึงวิธีคิดวิธีไตร่ตรองพิจารณาในแนวทางคำสอนของพระพุทธเจ้าเพื่อนำทางแห่งความสุขในปัจจุบัน โดยจะนำธรรมะหลายหัวข้อมากล่าวดังนี้ ประการแรก “โคตรมีสูตร” เป็นธรรมง่ายๆย่อๆที่พระพุทธเจ้าบอกแก่นางโคตรมี ที่ได้ขอข้อธรรมที่จะนำไปปฏิบัติเมื่ออยู่คนเดียว หลักเกณฑ์ที่พระพุทธเจ…
  continue reading
 
ตั้งสติให้มั่น ด้วยพุทโธ ธัมโม สังโฆ ประดิษฐานอยู่ในใจเราตลอดเวลา จิตตั้งมั่นขึ้นได้ ไม่ไหลไปตามผัสสะที่เข้ามา เราจะมีความสุขเย็น ที่เกิดจากความสงบ ระงับ จากภายใน เกิดสติสัมสัมปชัญญะ จิตมีกุศลธรรมเกิดขึ้น มีเมตตา กรุณา อกุศลธรรมลด เบาบางลง มีความเพียร กล้าในการเผชิญหน้า แผ่เมตตาใหญ่ออกไป ความกังวลใจหายไป จากการมีพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์เป็นที่พึ่ง เ…
  continue reading
 
บางครั้ง..คนเรานั้น ก็มักจะสับสนในธรรมที่ดูจะเหมือนๆ กัน คล้ายๆ กัน จนแยกไม่ออกว่า “ ผลผลิตของธรรมนั้นจะให้ผลออกมาอย่างไร ” จึงขอยกธรรมที่ดูจะเหมือนๆ กันขึ้นมาเปรียบเทียบกันเพื่อให้เห็นถึงความแตกต่างในความหมาย และคุณลักษณะของธรรมนั้นๆ อย่างแยบคาย และเพื่อก่อให้เกิดความเห็นที่ถูกต้อง เป็นสัมมาทิฎฐิไปสู่พระนิพพานได้ โดยธรรมที่หยิบยกมานี้ เมื่อพิจารณา…
  continue reading
 
สังโฆคือผู้ปฏิบัติจนรู้แจ้ง ให้เราระลึกถึงคุณของสังโฆ ผู้ปฏิบัติดี ปฏิบัติชอบ รู้แจ้งโลก เห็นทุกข์ คือเห็นธรรม เข้าใจอริยสัจสี่ เหมือนปัจจันตนครที่มีเครื่องป้องกัน โดยมีนายทวารที่ฉลาด คือ มีสติ เพื่อแยกแยะไม่ให้อกุศลจิตแทรกผ่านประตูเข้ามา อนุญาตให้เฉพาะคู่ราชฑูต คือ สมถและวิปัสสนา ถือสาสาส์นเรื่องการเห็นตามความเป็นจริงคือนิพพาน สู่เจ้าเมืองหรือวิญญ…
  continue reading
 
พระพุทธเจ้าได้ทรงแบ่งภัยในโลกนี้ไว้ 2 อย่างคือ ภัยที่ช่วยเหลือกันได้ และภัยที่ช่วยกันไม่ได้ 1.ภัยที่พอช่วยเหลือกันได้ ได้แก่ 1.ภัยน้ำท่วม 2.ภัยเกิดจากไฟไหม้ 3.ภัยเกิดจากโจรขโมยและสงคราม ภัยเหล่านี้เมื่อเกิดขึ้นแล้วยังพอช่วยเหลือให้ผ่อนหนักเป็นเบาได้บ้าง มากบ้างน้อยบ้าง ตามสถานการณ์ 2.ภัยที่ช่วยกันไม่ได้ ถึงแม้จะเป็น พ่อ แม่ ลูก ที่รักและห่วงใยกันแค…
  continue reading
 
รู้ลมแล้วจินตนาการไปในพุทธะ นึกถึงเหตุการณ์หลังการตรัสรู้ ครั้งที่สหัมบดีพรหมเกิดความร้อนใจ มานิมนต์ให้พระพุทธเจ้าได้แสดงธรรม จินตนาการแล้วก็ไม่ลืมลม เป็นการเจริญทั้งพุทธานุสสติและอานาปานสติไปพร้อมกัน ทำให้เกิดความเห็นความเข้าใจที่ถูกต้อง เป็นสัมมาทิฏฐิ เดินไปตามทางอันประเสริฐ เส้นทางเดียวกับพระพุทธเจ้า เราเดินตามท่านไป ตริตรึกใคร่ครวญตามไป เกิดสัม…
  continue reading
 
ธรรมะที่ช่วยประสานประโยชน์ให้เกิดความสามัคคี ให้อยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข เป็นเครื่องช่วยขจัดความขัดแย้งที่เกิดขึ้น ทำให้คนอยู่ร่วมกันด้วยความรัก ให้เกิดความสงเคราะห์กัน เข้าใจกันลงกันได้ สามารถนำไปใช้ได้ตั้งแต่ระดับครอบครัวจนถึงระดับสังคม หมวดธรรมที่ว่านี้นั่นก็คือ “สังคหวัตถุ 4” อันประกอบไปด้วย 1. ทาน คือ การรู้จักให้ รู้จักเสียสละ การเผื่อแผ่ แบ…
  continue reading
 
ก่อนปฏิบัติธรรมถอดหัวโขนทั้งทางกาย วาจา ใจ และเมื่อมีผัสสะมากระทบอายตนะ 6 รับรู้ได้อยู่คือวิญญาณทั้ง 6 ทั้งส่วนกายและใจ มีเครื่องทดสอบว่าจะกำหนดความคิดให้หลีกออกจากวิตกทั้งสาม คือกามวิตก พยาบาทวิตกและวิหิงสาวิตกได้หรือไม่ ถ้ามันจะเกิดขึ้นในช่องทางใจของเรา จงหยุด จงถอยกลับ ไม่เอาเข้าไป ต้องรู้จักใคร่ครวญแยกแยะให้เข้าได้เฉพาะกุศลธรรม จะแยกแยะได้ต้องม…
  continue reading
 
พระพุทธเจ้าได้ทรงแสดง หลักคำสอนและวิธีการปฏิบัติต่าง ๆ สรุปเป็นใจความสำคัญว่าไว้ 3 ขั้น คือ ให้ละเว้นความชั่ว ให้ทำความดี และทำจิตใจให้บริสุทธิ์ นี่คือเส้นทางที่จะนำไปสู่ทางหลุดพ้นได้ ซึ่งในครั้งนี้จะกล่าวถึงหลักธรรมที่เป็นขั้นของการชี้แนวทางแห่งโลกุตระ นั่นคือเบญจศีลและเบญจธรรม เบญจศีลและเบญจธรรม เป็นธรรมคู่กัน คนที่มีเบญจธรรมจึงจะเป็นผู้มีเบญจศีล…
  continue reading
 
สังกัปปะ กับ วิตก เป็นความคิดเหมือนกัน แต่มีธรรมชาติที่ต่างกัน คือถ้าเราต้องน้อมจิตเรียกว่าความคิดตริตรึกหรือวิตก แต่ถ้าความคิดโผล่ขึ้นมาเรียกความคิดนี้ว่าสังกัปปะหรือความดำริ ทั้ง 2 ประเภท มีทั้งคิดในทางกุศลหรือสัมมา และอกุศลหรือมิจฉา เราต้องฝึกตริตรึกไปในทางที่ละกาม พยาบาท และเบียดเบียน เพื่อให้เกิดความดำริหรือสังกัปปะที่เป็นกุศล นี่เป็นการทำงานร…
  continue reading
 
คำพูดเป็นสิ่งสำคัญ พระพุทธเจ้าท่านจึงทรงบัญญัติไว้ถึง ‘กถาวัตถุ 10’ คือ เรื่องที่ควรพูด นอกเหนือจาก คำพูดที่เว้นขาดจากการพูดโกหก ส่อเสียด หยาบคาย และพูดเพ้อเจ้อ และ ‘อักโกสวัตถุ 10’ คือ เรื่องที่ไม่ควรพูด เพราะไม่มีประโยชน์ และทำความเจ็บช้ำน้ำใจแก่ผู้อื่น ได้แก่ ชาติกำเนิด ชื่อ โคตร อาชีพ ศิลปะ (ฝีมือ) โรค รูปพรรณสัณฐาน กิเลส อาบัติ และคำสบประมาทอื…
  continue reading
 
ความตายจะเป็นจุดสูงสุดของความทุกข์ที่เราต้องเจอ ต้องเข้าหาระลึกถึงความตายอย่างถูกต้อง เตรียมตัวตาย โดยเข้าใจว่าความตายเกิดขึ้นกับตัวเราแน่ และให้ได้ประโยชน์จากความตาย คือเจริญมรณานุสติ จะเกิดอานิสงส์ใหญ่เป็นธรรมที่ลงสู่อมตะ คือความไม่ต้องตายอีก ทำได้โดย ปล่อยวางในสิ่งของรักของหวง ละความยึดถือตัวตนซึ่งเป็นแค่ธาตุทั้งสี่ ละความอยากได้ หลังความตายเอาอ…
  continue reading
 
คัมภีร์มหาปัฏฐาน เป็น 1 ใน 7 คัมภีร์ที่ใช้สวดในงานศพ ได้แก่ 1.ธัมมสังคณี 2.วิภังคปกรณ์ 3.ธาตุกถา 4. ปุคคลบัญญัติ 5. กถาวัตถุ 6.ยมกปกรณ์ และ 7.มหาปัฏฐาน โดยบทสวดมหาปัฏฐาน เป็นบทสวดที่กล่าวถึง ปัจจัย 24 ประการที่แสดงความเป็นไปของสภาวธรรมที่เป็นเหตุเป็นผลแก่กัน หรือเป็นองค์ประกอบที่ช่วยเอื้อ เกื้อหนุน ค้ำจุน เป็นเหตุ หรือเป็นเงื่อนไขให้สิ่งอื่น หรือสภ…
  continue reading
 
คิดเป็นระบบด้วยการพิจารณาโดยอาศัยปัจจัย 4 เป็นพื้นฐาน เริ่มจากเครื่องนุ่งห่มให้พิจารณาว่าจะใส่เพื่ออะไร ดังนี้ ปะฏิสังขา โยนิโส จีวะรัง ปะฏิเสวามิ หมายถึงการพิจารณาโดยแยบคายแล้วจึงนุ่งห่ม. ถัดไปเป็นอาหารพิจารณาเพื่อไม่ให้เกิดเวทนาใหม่หรือระงับเวทนาเก่า พินิจเพ่งจดจ่อ มีสติ ไม่เผลอเพลิน ไม่ยึดติดเกิดความหวง ปัจจัยที่ 3 คือ เสนาสนะ พิจารณาการเข้าสู่เ…
  continue reading
 
การจะทำสิ่งใดสิ่งหนึ่งให้เกิดความสำเร็จขึ้นได้ ต้องอาศัยความตั้งใจมั่นอย่างแรงกล้า ในทีฆนิกาย กล่าวถึง ‘อธิษฐาน’ ซึ่งไม่ใช่การร้องขอ แต่หมายถึง ธรรม 4 ประการ ที่ควรตั้งมั่นไว้ในใจ ได้แก่ ปัญญา (ใช้พิจารณา) สัจจะ (ทำให้เกิดขึ้นจริง) จาคะ (สละความเคยชินที่ไม่ดีออก) และอุปสมะ (ความสงบ) ซึ่งสัมพันธ์กับหมวดธรรมในอังคุตรนิกาย ที่กล่าวถึง ‘พละ 4’ คือ กำลั…
  continue reading
 
คิดให้เป็นขณิกสมาธิด้วยการระลึกถึงพุทธประวัติ โดยจินตนาการเป็นภาพพระโพธิสัตว์ทำความเพียรไล่ตั้งแต่จากดงคสิริสู่ริมแม่น้ำเนรัญชรา ความระลึกได้ถึงความสงบที่เคยพบครั้งเป็นเด็กที่เกิดจากการวิเวกกายวิเวกจิตจนเกิดปิติสุข จึงพบทางสายกลาง เพราะคิดจึงรู้ ตัวเราเองคิดนึกตามจนสามารถเกิดปิติสุขมีความสบายใจแบบนั้นได้หรือไม่ สามารถพยากรณ์วาระจิตตนได้หรือไม่ ถ้าไ…
  continue reading
 
ปาฏิปุคคลิกทาน 14 อย่าง คือทานที่ให้จำเพาะบุคคล เรียงตามอานิสงส์ที่ได้จากน้อยไปหามากได้ดังนี้ - ให้ทานแก่สัตว์เดียรัจฉาน พึงหวังผลทักษิณาได้ ๑๐๐ เท่า - ให้ทานแก่ผู้ทุศีล พึงหวังผลทักษิณาได้ ๑,๐๐๐ เท่า - ให้ทานแก่บุคคลผู้มีศีล พึงหวังผลทักษิณาได้ ๑๐๐,๐๐๐ เท่า - ให้ทานแก่บุคคลนอกศาสนาพุทธ ที่ปราศจากความกำหนัดในกาม พึงหวังผลทักษิณาได้ ๑๐๐,๐๐๐โกฏิ เท่า…
  continue reading
 
ธรรมะบทแรก ‘ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร’ ที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงเป็นปฐมเทศนากับภิกษุปัญจวัคคีย์ ที่ป่าอิสิปตนมฤคทายวัน ท่านทรงสอนไว้อย่างไร ใคร่ครวญธรรมในธรรมในคำสอนของ ‘พุทธะ’ ว่าอะไรคือหลักคำสอนที่มีความสำคัญสูงสุด เป็นความจริงอันประเสริฐ อะไรคือสิ่งที่แล่นไปดิ่งไปสุดโต่ง 2 อย่างที่ไม่ควรข้องแวะ อะไรคือขั้นตอนกระบวนการปฏิบัติที่เป็นทางสายกลาง ที่เมื่อทำกิ…
  continue reading
 
บทสวดที่นิยมสวดในงานทำบุญบำเพ็ญกุศลให้แก่ผู้ล่วงลับนั้น มักจะมีเนื้อหาที่กล่าวให้เห็นถึงความไม่เที่ยง ให้เกิดการปล่อยวาง ให้เห็นถึงความสังเวช ปลงได้ ให้เห็นถึงความละเอียดลงไป ให้เห็นถึงอริยทรัพย์จะมีบทหลักๆที่สวดอยู่ประมาณ 3-4 บท ในที่นี้จะกล่าวถึงบทหลักๆ 4 บท โดยบทสวดทั้ง 4 นี้มีทั้งที่เป็นคาถาและพระสูตร คือ ปัพพโตปมคาถา เป็นคาถาที่กล่าวถึงภูเขาหิ…
  continue reading
 
พิจารณานามรูปตามระบบแห่งความเห็นที่ถูกต้องเพื่อให้เกิดปัญญา มี 7ประการ ดังนี้ ประการที่ 1 นามคือความรู้สึกที่เรารับรู้ทางวิญญาณได้ รูปคือธาตุ4ได้แก่ ดิน น้ำ ไฟและลม ประการที่ 2 นามรูป มีเหตุเกิดจากวิญญาณ ซึ่งมาจากการมีสฬายตนะ ประการที่ 3 ความดับของนามรูปคือ ต้องดับวิญญาณ ประการที่ 4 องค์ประกอบอันประเสริฐ 8 อย่าง เป็นหนทางปฏิบัติให้ถึงความดับของนามร…
  continue reading
 
เนกขัมมะ ธรรมข้อสุดท้ายในอนุปุพพิกถาที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงไว้ตามลำดับเพื่อเป็นแนวทางให้ไปถึงโลกุตระได้ ‘เนกขัมมะ’ หมายถึง การหลีกออกจากกาม ได้แก่ ฌานสมาธิในขั้นต่างๆ การจะทำให้จิตน้อมไปในทางหลีกออกจากกามได้นั้น ต้องฝึกจิตให้พิจารณาเห็นบ่อยๆ ถึงคุณและโทษของกามว่า มีคุณน้อยแต่โทษมากขนาดไหนเมื่อเทียบกับเนกขัมมะที่มีคุณมากแต่โทษน้อยนิดเดียว อย่างไรก็ตาม…
  continue reading
 
บุคคลที่มีการสำรวมระวังนี้ได้ชื่อว่า ไม่ประมาท ตื่นอยู่ เริ่มต้นด้วยการตั้งสติตามทางสติปัฏฐาน4 โดยใช้พุทโธเป็นเครื่องมือให้เกิดสติ เรียกว่าเจริญพุทธานุสติ แต่ยังมีความคิดนึกผ่านทางช่องทางใจ ดังนั้นต้องมีการสำรวมระวังจากสติที่ตั้งขึ้น จิตสงบระงับลง ปรุงแต่งทางกายวาจาใจเบาบางลง ราคาโทสะโมหะระงับลง แม้คำว่าพุทโธก็หายไป เหลือแต่จิตที่อยู่กับธรรมารมณ์ใน…
  continue reading
 
กามโภคีบุคคล:บุคคลผู้บริโภคกาม เป็นผู้ที่ยังอยู่ในกระแสโลกจะเป็นผู้ที่ถูกบีบคั้นด้วยกามเสมอ ในการกล่าวถึงเรื่องของทางโลกนั้นก็ใช้คำว่ากามมาอธิบายเป็นหลักโดยในที่นี้จะกล่าวถึง กาม 2 อย่าง กาม 5 อย่าง และกามโภคีบุคคล 10 อย่าง กาม 2 อย่างได้แก่ 1.กิเลสกาม 2.วัตถุกาม กาม 5 อย่าง คือ กามคุณ 5 ส่วนที่น่าปรารถนาน่าใคร่ มี 5 อย่างคือ รูป เสียง กลิ่น รส และ…
  continue reading
 
สมถะวิปัสสนาเป็นธรรมที่คู่กัน เจริญโดยใช้อานาปานสติ สมถะที่เมื่ออบรม ทำให้มากแล้วจิตจะเจริญ ไม่คล้อยเคลื่อนไปตามอารมณ์ ละราคะโทสะโมหะได้ แต่ก็ยังกำเริบได้ จิตต้องมีความเพียรต้องด้วยองค์ประกอบ 7 ประการ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาทิฏฐิ จึงมีกำลังขึ้น จิตเป็นสมาธิ วิปัสสนาเกิดเริ่มจากการโยนิโสมนสิการคิด…
  continue reading
 
สุขอันชอบธรรมที่ผู้ครองเรือนควรมีหรือความสุขของคฤหัสถ์ 4 ประการ คือ กามโภคีสุข 4 ได้แก่ 1.อัตถิสุข : ความสุขเกิดจากความมีทรัพย์ คือ ความภูมิใจ เอิบอิ่มใจ ว่าตนโภคทรัพย์ที่ได้มาด้วยน้ำพักน้ำแรงความขยันหมั่นเพียรของตน และโดยชอบธรรม 2.โภคสุข : ความสุขเกิดจากการใช้จ่ายทรัพย์ คือ ความภูมิใจ เอิบอิ่มใจ ว่าตนได้ใช้ทรัพย์ที่ได้มาโดยชอบนั้น เลี้ยงชีพ เลี้ยง…
  continue reading
 
กำหนดรู้ธรรมด้วยปัญญาอันยิ่งจากทุกข์ นั่นคือขันธุ์ 5 ว่ามีสภาวะเปลี่ยนแปลงได้ด้วยเงื่อนไขปัจจัย ไม่เที่ยง ให้ละเสีย ไม่ควรยึดถือ เริ่มจากวิญญาณการรับรู้ ไม่เพลินไปตามอารมณ์ มีสติ สังเกตและวิริยะ ดำเนินตามระบบแห่งความเข้าใจที่ถูกหลัก หมายถึงระบบของความจริงอันประเสริฐ ได้แก่ทุกข์ที่เราต้องกำหนดรู้ด้วยปัญญาอันยิ่งแท้คืออภิญญา สมุทัยคือเหตุเกิดทุกข์ต้อ…
  continue reading
 
การที่จะนำธรรมะมาปฏิบัติจนเกิดเป็นผลขึ้นทางปัญญาได้นั้น มีขั้นตอน และกระบวนการในการปฏิบัติ โดยได้ยกหัวข้อธรรม “วิมุตติสูตร” มาอธิบายประกอบการปฏิบัติ เพื่อให้เห็นขั้นตอน และกระบวนการในการหยั่งลงสู่อมตธรรม ในวิมุตติสูตรนั้นจะประกอบไปด้วยธรรม 5 ข้อ ที่แตกต่างกัน แต่มีลำดับขั้นตอนการปฏิบัติที่จะให้เกิดผลเป็นวิมุตติสู่นิพพานได้เหมือนกัน ธรรม 5 ข้อนั้นได…
  continue reading
 
การฝึกจิตซึ่งป็นนาม เป็นของว่าง ไม่มีตัวตน เป็นสิ่งที่เกิดประโยชน์ โดยเริ่มจากใช้ลมหายใจเป็นฐานที่ตั้งของสติ ฝึกให้สติมีกำลังจะระลึกได้ ไม่ถูกราคะ โทสะ โมหะมาทำให้เกิดโทษ จิตจะไม่เผลอไม่เพลิน รับรู้และเข้าใจธรรมชาติของทุกข์คือขันธ์5 ยอมรับและเข้าใจ สมุทัยคือตัณหา ให้กำจัดเสีย นิโรธคือความดับไม่เหลือของตัณหา ต้องทำให้แจ้ง ให้ดับ มรรคคือองค์ประกอบอัน…
  continue reading
 
หมวดธรรม 4 ประการ 2 อย่าง ที่มีส่วนสนับสนุนให้เกิดความเจริญก้าวหน้าในชีวิต ได้แก่ สัมปรายิกัตถสังวัตตนิกธรรม 4 คือ ธรรมที่เป็นไปเพื่อประโยชน์เบื้องหน้า 1.สัทธาสัมปทา : ความถึงพร้อมด้วยศรัทธา คือความมั่นใจในพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ 2.สีลสัมปทา : ความถึงพร้อมด้วยศีล คือศีล 5 ที่ตั้งขึ้นด้วยเจตนางดเว้น 3.จาคสัมปทา : ความถึงพร้อมด้วยการเสียสละ คือสละสิ่…
  continue reading
 
เห็นธรรมในธรรมโดยเห็นลมผ่านทางกาย ในความเหมือนกันของลมและกาย เห็นส่วนที่ต่างกันจากการปรุงแต่งของการเปลี่ยนแปลงของกายที่ทั้งเหมือนและต่าง เห็นวัฏจักรสู่ความระงับ ฝึกฝนโดยมีสติอยู่กับลม จิตจะสงบระงับเป็นอารมณ์อันเดียว เห็นธรรมชาติที่จิตนั้นปรุงแต่งได้แต่ปลดเปลี้อง และแยกกันคนละส่วน จะเกิดลักษณะของจิตที่จะน้อมเข้าไปเพื่อยึดกิเลสอีกแต่จะเบาบางลงคือการส…
  continue reading
 
ความจริงโดยทั่วๆ ไปที่เป็นข้อเท็จจริง ตามสมมุติของโลกนั้น สามารถเปลี่ยนแปลงไปตามเงื่อนไขปัจจัยตามบริบทของสังคมหรือเวลา เช่น ข่าว งานวิจัย สิ่งของ เสื้อผ้า ที่สมมุติเรียกตามบริบทของเวลานั้น แต่อริยสัจ 4 คือ ความจริงอันประเสริฐ 4 อย่างนี้ คือ ทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค แสดงถึง สัจธรรมความจริง ที่ไม่เกี่ยวเนื่องด้วยเวลา กิจในอริยสัจ 4 (กิจญาณ) คือ หน้าที…
  continue reading
 
ระลึกถึงคุณของแก้วสามประการ คือพุทโธ ธัมโม สังโฆ จิดเป็นสมาธิเกิดสติ ทำสติให้มีกำลังและพัฒนาเกิดปัญญา พุทโธแก้วประการที่1 คือผู้รู้ รู้วิธีกำจัดกิเลสออกไปจากใจ ไม่ถูกบีบคั้นด้วย ราคะ โทสะ โมหะ พุทโธมีสามระดับ คือ สัมมาสัมพุทโธ อนุพุทโธ ปัจเจกพุทโธ ธัมโมแก้วประการที่2 คือ ธรรมะที่ทำให้พ้นทุกข์ มีความงดงามในเบื้องต้น คือมีความชอบที่สอดคล้องกัน,ท่ามกล…
  continue reading
 
ภาวนา คือ การพัฒนาตนเองให้ดีขึ้นทุกด้าน คนเราต้องมีการพัฒนาตนเองให้ก้าวหน้า ให้เจริญงอกงาม หมวดธรรมะที่จะสนับสนุนให้เกิดการพัฒนาตนเองที่จะนำมากล่าวในที่นี้ได้แก่ วุฑฒิธรรม 4 : ธรรมเป็นเครื่องเจริญงอกงามแห่งปัญญา 4 ประการ 1.สัปปุริสังเสวะ: การคบหาสัตบุรุษ 2.สัทธัมมัสสวนะ: ฟังสัทธรรม,เอาใจใส่เล่าเรียน 3.โยนิโสมนสิการ: การทำในใจโดยแยบคาย 4.ธัมมานุธัมม…
  continue reading
 
มีสติให้รู้ชัด ว่าหายใจเข้าหรือออก ไม่ต้องตามลม ให้ตั้งสติไว้จุดที่สัมผัสลมได้ การเห็นลมคือการเห็นกายอย่างนึง เป็นหนึ่งในที่ตั้งของสติ สติคือความไม่เผลอไม่เพลิน แต่เราต้องเห็นกายในกายให้ถูกต้อง คือเห็นด้วยสัมมาสติ เห็นกายเป็นของปฏิกูล ขั้นตอนที่หนึ่ง เห็นลมเราไม่ต้องตามลม ขั้นตอนที่สองไม่เผลอไม่เพลินไปตามสิ่งที่ได้รับรู้และสัมผัส ต้องคิดเป็นระบบ เร…
  continue reading
 
อปริหานิยธรรม คือธรรมะอันไม่เป็นที่ตั้งแห่งความเสื่อม เป็นธรรมที่อาศัยการรักษาเหตุปัจจัยแห่งความไม่เสื่อมและเหตุปัจจัยแห่งความเจริญ โดยแบ่งเป็นหลายนัยยะได้แก่ นัยยะแรก 1. หมั่นประชุมกันเนืองนิตย์ 2. พร้อมเพรียงกันประชุม 3. ศึกษาและไม่ล้มล้างสิ่งที่พระพุทธเจ้าทรงบัญญัติไว้ 4. เคารพภิกษุผู้เป็นสังฆบิดร เป็นสังฆปริณายก 5. ไม่ลุอำนาจตัณหาคือความอยากที่…
  continue reading
 
เจริญอานาปานสติ เกิดความรู้ตัว พร้อมเฉพาะคือ มีสติ สัมปชัญญะรู้ลมหายใจ, ให้เห็น กาย เวทนา จิต ธรรม, โดยสังเกตุลมหายใจเข้า-ออกในกาย คือ เห็นกายในกาย, สังเกตุเวทนาในกาย เวทนาในจิตคือ เห็นเวทนาในเวทนา, จิตสงบตั้งมั่นจากสมาธิ คือเห็นจิตในจิต, เกิดปัญญา เห็นทุกขลักษณะ เห็นความไม่เที่ยงของจิต จึงวางความยึดถือในจิตว่าเป็นตัวตน เกิดความดับคือเห็นธรรมในธรรม…
  continue reading
 
บทสวด สาราณียะธัมมะสูตตัง เป็นบทที่กล่าวถึงสาราณียธรรม6 ซึ่งเป็นธรรมอันเป็นไปเพื่อความระลึกถึงกันและกัน คือธรรมแห่งการสร้างความสามัคคี เป็นบทสวดที่มาจากพระสูตรที่พระภิกษุจะมักสวดกันในวันเข้าพรรษา บทสวดนี้พระพุทธเจ้าได้ตรัสกับภิกษุไว้ที่เมืองสาวัตถี ณ วัดเชตวัน โดยกล่าวถึงธรรม 6 ประการ ที่เมื่อนำไปปฏิบัติแล้วจะเป็นธรรมเครื่องก่อให้เกิดอานิสงส์ 7 ประ…
  continue reading
 
หายใจแรง ๆ สองสามครั้ง กำหนดรู้ถึงลมรับรู้ถึงสัมผัสได้ที่ตรงไหน เอาจิตมาจดจ่อตั้งเอาไว้ที่นี่และหายใจธรรมดา กำหนดอยู่กับลม ณ ตรงตำแหน่งที่เราสัมผัสได้ตอนแรก มีสติสัมปัญชัญญะ เมื่อสติมีกำลังมากขึ้นตามกระบวนการของการเจริญอานาปานสติ จิตจะมีกำลังมากขึ้น การรับรู้เกิดขึ้นได้แต่ไม่ตามไป รู้สึกพอใจก็เป็น ราคานุสัย รู้สึกไม่พอใจก็เป็นปฏิฆานุสัย กำจัดอนุสัย…
  continue reading
 
การทำอะไรซ้ำๆ ย้ำๆ อยู่บ่อยๆ จะทำให้เราเกิดความชำนาญในสิ่งนั้น เช่นเดียวกับการพิจารณาใคร่ครวญธรรม ถ้าเราใคร่ครวญทำย้ำๆซ้ำๆ อยู่บ่อยๆ อยู่เรื่อยๆ จะทำให้เกิดปัญญา(ญาณ)รู้ชัดขึ้นมา เป็นผู้ฉลาดรู้แจ้งในธรรมนั้น วิธีการพิจารณาใคร่ครวญโดยความเป็นธาตุ คือ ธาตุ 6 โดยพิจารณาเจาะแยกลงไป แยกออกๆจนเหลือหน่วยเล็กที่สุดและพิจารณาประกอบกันเข้ามาแล้วจึงมีหน่วยใหญ…
  continue reading
 
เมื่อเกิดความพอใจ ไม่พอใจ ความหลง ความไม่รู้ ให้ใคร่ครวญธรรมโดยการพิจารณาปัจจัยในภายใน เข้าใจเหตุให้ถูกต้องจะสาวไปถึงปัจจัยต้นตอเงื่อนไขของมันได้ ตามระบบอริยสัจ4 และลงมือปฏิบัติตามมรรค8 ซึ่งมีองค์ประกอบอันประเสริฐแปดอย่างเป็นหลัก แต่ถ้าเราหลงไปยึดถือ เกิดความรู้สึกและตัณหามากมายรวมเรียกว่า อุปธิ ก็จะพาให้ทุกข์ จึงต้องมีสติตั้งไว้เสมอ ไม่ตามตัณหาไป …
  continue reading
 
Loading …

Hurtig referencevejledning